หลวงพ่อคง ธมมฺโชโต วัดบางกะพ้อม สมุทรสงคราม
ด้านหลัง เรียบในบางองค์มีรอยจาร
พระผงพิมพ์เล็บมือ หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม
ความหมายคือ มะอะอุนะโมวิมุตตานัง ขอนอบน้อมแด่ท่านผู้หลุดพ้นจากกิเลสทั้งหลาย
ก็ยังมีเรื่องเล่าถึงอดีตนาวิกโยธินคนหนึ่งที่ได้เครื่องรางของหลวงพ่อสุดไปเป็นเหรียญเสือเผ่นและรอยสัก ขณะที่รับราชการอยู่เขาถูกส่งไปปราบผู้ก่อการร้ายที่ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช ในปี พ.
พระปิดตา เนื้อผงเก่า ไม่ทราบที่ แต่สวยงามดี ใครเห็นก็ชอบ
ด้านหลัง มีอักขระยันต์ โดยตัวบนสุดของเหรียญจะเป็นตัว อุ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อพิมพ์
ท่านออกธุดงค์มาวัดท่ากระบือ ริมแม่น้ำท่าจีน เพื่อศึกษาวิชากรรมฐานกับหลวงพ่อรุ่ง ติสสโร หรือ พระอาจารย์ไพโรจน์วุฒาจารย์ แล้วได้ธุดงค์ต่อไปวัดบางกะพ้อม จังหวัดสมุทรสงคราม ศึกษาวิชากรรมฐานกับหลวงพ่อคง ประมูลพระ ธมฺมโชโต
เหรียญพระพุทธ พิมพ์หยดน้ำ หลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ เนื้อสัมฤทธิ์
ด้านหน้า เป็นรูปพระพุทธรูปประทับยืนปางประทานพร มีพระอัครสาวกยืนซ้ายและขวา ด้านล่างมีหนุมานแบกพระอัครสาวกทั้ง ๒ ไว้ พระบาทของพระพุทธเจ้าชิดกับศรีษะของหนุมาน
สร้างขึ้นก่อนปี พ.ศ. ๒๔๘๔ เป็นวิชาที่หลวงพ่อคงไปเล่าเรียนมาจากหลวงพ่อไล้ วัดเขายี่สาร แต่ลูกอมของท่านจะไม่ได้คลุกลัก มีการสร้างด้วยกัน ๒ แบบคือแบบลงรักถักเชือก และแบบเปลือยในตลับเงิน จำนวนการสร้างไม่ได้มีการจดบันทึกไว้
ด้านหน้า เป็นรูปพระพุทธรูปประทับยืนปางประทานพร มีพระอัครสาวกยืนซ้ายและขวา ด้านล่างมีหนุมานแบกพระอัครสาวกทั้ง ๒ ไว้ พระบาทของพระพุทธเจ้าจะห่างจากศรีษะของหนุมาน
ร้อยเอ็ด แล้วเดินทางรอนแรมจากร้อยเอ็ดไปแสวงหาวิชาและความรู้ในทางธรรมตามที่ต่างๆ จนกระทั่งได้มาจำพรรษาอยู่ที่วัดกาหลง จนมรณภาพ
ในประเทศไทย จะเห็นได้ว่ามีการบูชาเทพต่าง ๆ ในศาสนาพราหมณ์อยู่มากมาย รวมทั้งพระพิฆเนศซึ่งอยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน ดูได้จากการพบรูปสลักพระพิฆเนศในเทวสถานตามเมืองต่าง ๆ ทั่วทั้งประเทศไทย โดยมีหลักฐานการค้นพบเทวรูปบูชาพระพิฆเนศที่เก่าแก่ในสมัยที่ขอมเรืองอำนาจในดินแดนสุวรรณภูมิ